หน้าแรก -->

เตยหอม

                                                   
ชื่อวิทยาศาสตร์: Pandanus amaryllifolius Roxb
วงศ์: PANDANACEAE
ชื่ออื่น: ผักเก็งเค็ง(ภาคเหนือ)
 ใบส้มม่า(ภาคใต้)
สรรพคุณ
- ช่วยลดความดันโลหิต
- ต้มกับน้ำดื่ม ช่วยแก้กระหาย คลายร้อน ดื่มแล้วรู้สึกสดชื่น
- ช่วยรักษาโรคเบาหวาน ช่วยคุมน้ำตาลในเลือด
- สีเขียวของใบเตย เป็นสีของคลอโรฟิลล์สามารถนำมาทำเป็นอาหาร ขนม และมีกลิ่นหอม
- ช่วยลดความดันโลหิต (สารสกัดน้ำจากใบเตย)
- ช่วยป้องกันการแข็งตัวของหลอดเลือด
- ช่วยบรรเทาอาการอาการและดับพิษไข้ได้
- ช่วยดับพิษร้อนภายในได้เป็นอย่างดี
- ใช้รักษาโรคหืด (ใบ)
- ใช้เป็นยาแก้กระษัย (ต้น, ราก)
- ใช้เป็นยาขับปัสสาวะด้วยการใช้ต้น 1 ต้น หรือจะใช้รากครึ่งกำมือก็ได้ นำมาต้มกับน้ำดื่ม (ราก, ต้น)
ลักษณะของต้นเตยหอม
    จัดเป็นไม้ยืนต้นพุ่มเล็ก ขึ้นเป็นกอ มีใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ
เวียนเป็นเกลียวจนถึงยอดใบ ลักษณะของใบเป็นทางยาว สีเขียวเป็นมัน ใบค่อนข้างแข็ง มีขอบใบเรียบ 
เราสามารถนำใบเตยมาใช้ได้ทั้งใบสดและใบแห้ง ในใบเตยจะมีกลิ่นหอม
ของน้ำมันหอมระเหย (Fragrant screw pine) โดยกลิ่นหอม
ของใบเตยนั้นมากจากสารเคมีที่ชื่อว่า 2-acetyl-1-pyrroline 
ซึ่งเป็นกลิ่นเดียวกันกับที่ได้ใน ข้าวหอมมะลิ ขนมปังขาว และดอกชมนาด


ขอบคุณข้อมูลและสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น